04/11/2563
พบต่อเนื่องผลิตภัณฑ์โฆษณาชวนเชื่อลดน้ำหนัก “02i” ขายทางสื่อออนไลน์ ถูกยกเลิกเลขทะเบียนและสถานที่ผลิตแล้ว เตือนประชาชนอย่าซื้อมารับประทานโดยเด็ดขาด อาจเป็นอันตรายต่
28/09/2563
อย. เตือน ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร “ทัช มี” มีส่วนผสมของไซบูทรามีน เตือนผู้บริโภคผลิตภัณฑ์ดังกล่าวเข้าข่ายไม่ปลอดภัย หากรับประทานอาจได้รับอันตรายจากผลข้างเคียงจนถึงแก่ช
17/02/2563
พบผลิตภัณฑ์ Dtox Kelly โฆษณาอวดอ้างลดอาการท้องผูก ป้องกันการเกิดมะเร็งลำไส้ ตรวจสอบเลข อย. ไม่พบข้อมูลผลิตภัณฑ์ เข้าข่ายอาหารปลอม เตือนอย่าซื้อมาบริโภค อาจได้รับอันตราย แนะตรว
07/11/2562
อย. เผย ยังพบผลิตภัณฑ์เสริมอาหารที่แจ้งยกเลิกเลขสารบบไปแล้ว โฆษณาขายผ่านทางสื่อออนไลน์ เตือนอย่าซื้อมาบริโภค จัดเป็นอาหารปลอม เสี่ยงอันตรายปนเปื้อนสารที่ไม่ได้รับอนุญาต แนะตรว
14/06/2562
อย. ร่วมกับ บก.ปคบ. ทลายแก๊งหัวใสลักลอบผลิตและจำหน่ายผลิตภัณฑ์เสริมอาหารผิดกฎหมายผลิตภัณฑ์ลดน้ำหนักที่มีส่วนผสมของไซบูทรามีน ซึ่งเป็นวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 1 นอกจากนี้ยังพบโรงง
05/01/2559
อย. เผย ปีงบ 2558 ร่วมมือ บก.ปคบ. จับกุมและดำเนินคดีผลิตภัณฑ์สุขภาพผิดกฎหมาย จำนวน 101 ครั้ง ของกลาง 1,019 รายการ มูลค่ากว่า 185 ล้านบาท โดยเฉพาะการจับกุมร้านขายยาที่มีพฤติกรรมล
22/01/2558
รู้หรือไม่ ? ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารผิดกฎหมายมักจะผสมสารอันตรายลงไป พบมากใน 3 ประเภท 1.อวดว่าทำให้ อกฟูรูฟิต แอบใส่ฮอร์โมนเพศหญิง ส่งผลอันตราย ดังนี้ -มะเร็งเต้านม -มะเร็งมดลูก -มะเร็ง
16/05/2557
อย. เดินหน้าตรวจสอบผลิตภัณฑ์สุขภาพผิดกฎหมาย ลุยร่วมกับตำรวจ บก.ปคบ. บุกทะลายแหล่งผลิตและขาย เครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารผิดกฎหมาย ย่านเพชรเกษม พบผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางแสดงฉ
21/04/2557
จากการที่สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาได้ดำเนินการตรวจสอบ และปราบปรามการจำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพผิดกฎหมายมาอย่างต่อเนื่อง พบว่าผลิตภัณฑ์เสริมอาหารผิดกฎหมายที่ร้านค้ามักนำมาจำหน่าย แ
15/07/2556
อย. ผงะ! พบผลิตภัณฑ์น้ำมันรำข้าวและจมูกข้าวชนิดแคปซูล ตราออริซานอล เลขสารบบอาหารที่ 10-1-00653-3-0006 ลักลอบใส่ยาลดความอ้วน เฟนฟลูรามีน (Fenfluramine) ซึ่งเป็นยาที่เพิกถอนทะเบียนแล