• หน้าหลัก
  • ประเภทสื่อ
    • แอนิเมชัน
    • E-BOOK
    • ข่าว
    • วิดีโอ
    • สื่อออนไลน์
    • Factsheet
    • อินโฟกราฟิก
    • เช็ก ชัวร์ แชร์
  • อย. บริการประชาชน
    • เช็กเลขผลิตภัณฑ์
    • เตือนภัยผลิตภัณฑ์สุขภาพผิดกฎหมาย
    • แจ้งเรื่องร้องเรียน
    • แบบสอบถาม
    • แนะนำติชม
  • เรื่องน่ารู้
    • GDA
    • NCDs
    • Smart Biz
    • แหล่งรวมความรู้
    • E-learning
  • อย. เช็ก ชัวร์ แชร์
  • LIFESTYLE
    • Women
    • Kids
    • Aging
    • Men
  • โครงสร้างเว็บไซต์
  • ลิงก์เว็บไซต์เก่า
  • ติดต่อ อย.
เข้าสู่ระบบ | หน้าหลัก | Sitemap | ลิงก์เว็บไซต์เก่า
menu
  • หน้าแรก
  • ค้นหา

เลือกหมวดหมู่

ทั้งหมด เช็ก ชัวร์ แชร์ แอนิเมชัน ข่าว สื่อออนไลน์ อินโฟกราฟิก อีบุ๊ค วิดีโอ Factsheet

อย่าหลงเชื่อ ค้นหาพบ 389 รายการ

  • «
  • 1
  • 2
  • 3
  • 4
  • 5
  • 6
  • »

อย่าหลงเชื่อ...กาแฟอ้างเสริมสมรรถภาพทางเพศ เสี่ยงถึงตาย

27/11/2563

พบผลิตภัณฑ์กาแฟปรุงสำเร็จ 2 รายการ ลักลอบใส่ยาแผนปัจจุบันชนิดยาควบคุมพิเศษที่ใช้รักษาอาการหย่อนสมรรถภาพทางเพศ อย. เตือนผู้บริโภคอย่าซื้อ เสี่ยงได้รับอันตรายถึงชีวิตจากผลข้างเค

ข่าว
อ่านต่อ ...

อย. เตือน อย่าหลงเชื่อ เครื่องบำบัดด้วยกระแสไฟฟ้าสถิต อวดอ้างรักษาโรค

13/11/2563

14 พ.ย. 63 วันคนพิการแห่งชาติ อย. ห่วงใย เตือนผู้มีภาวะพิการทางร่างกาย อย่าหลงเชื่อเครื่องหรืออุปกรณ์บำบัดด้วยกระแสไฟฟ้าสถิต อ้างสรรพคุณรักษาโรค ย้ำ ! อย. รับรองข้อบ่งใช้เพื่อ

ข่าว
อ่านต่อ ...

อย. แจงการแสดงฉลากและการกล่าวอ้างสรรพคุณของน้ำด่างหรือเครื่องดื่มอัลคาไลน์

13/11/2563

อย. ชี้แจงการแสดงฉลากและการกล่าวอ้างสรรพคุณของน้ำด่างหรือเครื่องดื่มอัลคาไลน์ เมื่อวัดค่า pH แล้ว ต้องมีค่าตรงกับที่ระบุไว้บนฉลาก และไม่อนุญาตให้แสดงข้อความกล่าวอ้างคุณสมบัติท

ข่าว
อ่านต่อ ...

อันตราย! “อี้เซิน ยาจีน เก๋ากี้ ดองน้ำผึ้ง” สมุนไพรเถื่อนไม่มีทะเบียน อวดอ้างสรรพคุณทางยา

12/11/2563

ระวัง! อย่าหลงเชื่อโฆษณาผลิตภัณฑ์สมุนไพรยาจีน อี้เซิน เก๋ากี้ดองน้ำผึ้ง พบเป็นการโฆษณาขายสมุนไพรโดยไม่ได้รับอนุญาต อ้างสรรพคุณทางยา โอ้อวดรักษาสารพัดโรค ย้ำ! เป็นผลิตภัณฑ์สมุน

ข่าว
อ่านต่อ ...

โปรลดพิเศษดูให้ดีก่อนซื้อ ระวัง ! โฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเกินจริง

11/11/2563

โปรลดพิเศษดูให้ดีก่อนซื้อ ระวัง ! โฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเกินจริง มีข้อควรระวังอะไรบ้าง ? มาดูกัน วันนี้เรามีคำตอบ #fdathai

อินโฟกราฟิก
อ่านต่อ ...

วนซ้ำอีก ยาพารามีไวรัสปนเปื้อน ไม่เป็นความจริง อย่าเชื่อ อย่าแชร์

05/11/2563

อย. ย้ำชัด ยาพาราเซตามอล ปนเปื้อนไวรัสแมคชูโป ไม่เป็นความจริง หากพบว่ายาใดมีการปนเปื้อนจะต้องแจ้งเตือน เรียกเก็บยาคืน ไม่ให้นำออกมาจำหน่าย อย่าเชื่อ อย่าแชร์ข่าวลวงในโลกออนไลน์ ซึ่

ข่าว
อ่านต่อ ...

ไม่มีจริง น้ำต้มมะนาวลดความอ้วน อย่าหลงเชื่อ

28/10/2563

โลกออนไลน์ได้มีการแชร์สูตรลดน้ำหนัก ที่ระบุว่า ดื่มน้ำต้มมะนาวทุกวัน จะลดน้ำหนักได้ ทางเราได้ตรวจสอบแล้วพบว่า สูตรดังกล่าวนั้นสามารถกินได้ไม่เป็นอันตราย แต่จะไม่ได้ผลลัพธ์ตามท

เช็ก ชัวร์ แชร์
อ่านต่อ ...

อย่าเชื่อ อย่าแชร์ต่อ ข้อมูลลวง ใส่ยาคุมในแชมพูสระผม ช่วยเร่งผมยาว

19/10/2563

อย. เตือน อย่าหลงเชื่อข่าวลวงนำยาคุมบดใส่แชมพูสระผม ช่วยเร่งผมยาวทันใจ ไวเวอร์ ไม่เป็นความจริง อย่าแชร์ต่อ เภสัชกรหญิง สุภัทรา บุญเสริม รองเลขาธิการคณะกรรมการอาหารแล

ข่าว
อ่านต่อ ...

วิคส์ แก้ปวดหู จริงหรือไม่

12/10/2563

แชร์ทั่วอินเทอร์เน็ต ทาวิคส์ลงในสำลีเพียงเล็กน้อยและใส่ไว้ในหูปล่อยทิ้งไว้ตลอดคืน สามารถ ลดอาการปวดหูได้ จะจริงหรือไม่ มาติดตามกันเลย หลายคนเคยมีอาการปวดหู ซึ่งการปวดหูนั้นอาจ

เช็ก ชัวร์ แชร์
อ่านต่อ ...

เตือนอย่าเลียนแบบไวรัล TIK TOK Benadryl challenge อันตรายถึงชีวิต

06/10/2563

อย. เตือนระวังอย่าลอกเลียนแบบการทำ Benadryl challenge หลังพบรายงานผู้เสียชีวิตจากการเข้าร่วมทำไวรัลดังกล่าวผ่านแอพพลิเคชั่น TIKTOK ซึ่งยาเบนาดริล (Benadryl) จัดเป็นยาอันตราย ต

ข่าว
อ่านต่อ ...
  • «
  • 1
  • 2
  • 3
  • 4
  • 5
  • 6
  • »
© 2018-2019 All Rights Reserved @ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ( อย. )

Log in เพื่อเปิดระบบแนะนำบทความ เพิ่มประสบการณ์ความพึงพอใจของคุณ

Forgot password? | ลงทะเบียนใหม่

ลงทะเบียน


Back

กรุณายืนยันการลงทะเบียนผ่านอีเมล์ของท่าน

กรุณากรอกอีเมล์ที่ลงทะเบียนไว้เพื่อเปลี่ยนรหัสผ่าน

Back